Page 27 - Palliative care

Basic HTML Version

26
การดู
แลผู้
ป่
วยระยะสุ
ดท้
ายแบบประคั
บประคอง
การสวดมนต์
สวดอ้
อนวอนถึ
งพระเจ้
า หรื
อร้
องเพลงสวด
การสวดมนต์
ช่
วย
ให้
ใจจดจ่
อกั
บสิ่
งดี
งามและยั
งช่
วยให้
เพลิ
ดเพลิ
นกั
บท่
วงทำนองของบทสวด เราอาจเปิ
เทปสวดมนต์
หรื
ออ่
านพระคั
มภี
ร์
เพื่
อให้
ผู้
ป่
วยระลึ
กตามในใจ หรื
อหากผู้
ป่
วยยั
งสวดมนต์
ได้
และปรารถนาที่
จะทำก็
ชวนให้
สวดมนต์
ร่
วมกั
น สำหรั
บผู้
ที่
ไม่
คุ้
นเคยกั
บการสวดอาจ
แนะนำให้
สวดบทสั้
นๆ หรื
อเป็
นคำๆ ที่
โน้
มน้
าวใจให้
เข้
าหาสิ่
งที่
ดี
งาม
การน้
อมใจให้
ผู้
ป่
วยได้
ระลึ
กถึ
งสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ที่
นั
บถื
อจะช่
วยให้
ผู้
ป่
วยสงบลงได้
แต่
หากผู้
ป่
วยไม่
ได้
ผู
กพั
นกั
บความเชื่
อหรื
อศาสนาใด สามารถน้
อมให้
ระลึ
กถึ
งความดี
งามที่
เคยทำมา หรื
อสิ่
งดี
ๆ ที่
ภาคภู
มิ
ใจ ซึ่
งจะช่
วยให้
ผู้
ป่
วยสามารถเข้
าสู่
ความสงบพร้
อม อิ่
มใจ
ในความดี
ของตน
ข้
อสั
งเกตอาการผู้
ป่
วยในช่
วงท้
ายของชี
วิ
8
ในช่
วง 1-3 เดื
อน มั
กมี
อาการทรงๆ ทรุ
ดๆ สลั
บกั
นไป และเมื่
ออวั
ยวะในร่
างกาย
ค่
อยๆ เสื่
อม ผู้
ป่
วยมั
กมี
อาการทรุ
ดลงเรื่
อยๆ
ในช่
วง 2-3 สั
ปดาห์
สภาพร่
างกายเริ่
มเปลี่
ยนแปลง เช่
น การสู
บฉี
ดโลหิ
ตน้
อยลง
ทำให้
มื
อเท้
าเย็
น ผิ
วหนั
งเปลี่
ยนสี
คื
อ มี
สี
คล้
ำขึ้
น เป็
นจ้
ำ หายใจเริ่
มผิ
ดปกติ
ไม่
เร็
วขึ้
น ก็
ช้
าลง หรื
อหายใจขาดเป็
นห้
วงๆ มี
เสมหะออกมาก กล้
ามเนื้
อหย่
อนยานควบคุ
มไม่
ได้
การ
รั
บรู้
แย่
ลง บางรายอาจเพ้
อเรื่
องที่
อยู่
ใต้
สำนึ
ก รั
บประทานน้
อยลงหรื
อรั
บประทานไม่
ได้
แม้
ให้
อาหารทางสายยาง อาหารจะไม่
ย่
อยและเหลื
อค้
างในกระเพาะมาก
ในช่
วงวั
นท้
ายๆ ของชี
วิ
ต จะมี
อาการต่
างๆ เช่
น รั
บประทานและดื่
มน้
อยลง จึ
ไม่
ควรคะยั้
นคะยอให้
รั
บประทานอาหาร หรื
อให้
น้
ำเกลื
อและสอดสายให้
อาหาร เพราะจะ
ทำให้
ทรมานมากขึ้
น ผู้
ป่
วยมั
กจะมี
อาการอ่
อนเพลี
ย ง่
วง ซึ
ม ดั
งนั้
นไม่
จำเป็
นต้
องให้
การ
รั
กษาอะไร ปล่
อยให้
พั
กผ่
อนให้
เต็
มที่
ไม่
พยายามปลุ
กให้
ตื่
น ลดการรบกวนต่
างๆ เช่
น การ
พลิ
กตั
ว วั
ดความดั
น ใส่
สายสวนปั
สสาวะ สอดท่
อในคอ ฯลฯ หากผู้
ป่
วยมี
เสมหะมาก ควร
เลื
อกวิ
ธี
การดู
แลที่
รบกวนผู้
ป่
วยน้
อยที่
สุ
ด เช่
น การใช้
ยาลดเสมหะดี
กว่
าใช้
วิ
ธี
การดู
เสมหะ เพราะทำให้
ผู้
ป่
วยทรมาน เมื่
อถึ
งช่
วงนี้
ความเจ็
บปวดต่
างๆ จะลดลง เพราะระบบ
ประสาททำงานไม่
ดี
การรั
บรู้
และความเจ็
บปวดจะน้
อยลงจนไม่
รู้
สึ
ก จึ
งอาจไม่
จำเป็
นต้
อง
ใช้
ยาแก้
ปวดอี
กต่
อไป
8
เติ
มศั
กดิ
พึ
งรั
ศมี
อ้
างใน กรรณจริ
ยา สุ
ขรุ
ง. (2553). สุ
ขสุ
ดท้
ายที
ปลายทาง : เผชิ
ญความตายอย่
างสงบ.
หน้
า 170-176.